วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

เรื่องที่ 2 วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย

เรื่องที่ 2 
วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย


  • วัฒนธรรมเปนเครื่องแสดงใหเห็นถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียว มีคุณธรรมและศีลธรรมของคนในชาติ
  • สวนภูมิปัญญาไทยเป็นการแสดงออกถึงความรู้ ความสามารถของคนไทยแต่ละท้องถิ่นในการนำองค์ความรู้ ต่างๆ มาปรับใช ้ ใหสอดคล้องกับวิถีชีวีตของตน 


  • ดังนั้นวัฒนธรรมและภูมปัญญาไทย จึงเปรียบเสมือนแบบแผนที่สำคัญในการดำเนินชีวิตของคนไทย ที่สะทอนใหเห็นถึงความเปนตัวตน ซึ่งเปนเอกลักษณประจำชาติไทยของเราอีกดวย
    • เอกลักษณประจำชาติไทย คือ ลักษณะที่ดีเดนของสังคมไทย และประชาชนชาวไทย ซึ่งเมื่อรวมกันแลวทำใหประเทศไทย มีความแตกตางจากประเทศอื่นๆ เอกลักษณประจำชาติไทย ประกอบดวย สถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย และ สถาบนการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเปนประมุข

สาระการเรียนรูแกนกลาง

  • 1. ความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรม 
  • 2. ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรมไทย 
  • 3. การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย 
  • 4. ความแตกตางระหวางวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรม สากล 
  • 5. วิธีเลือกรับวัฒนธรรมสากล 6. แนวทางการอนุรักษวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม
จุดประสงคการเรียนรู
  • 1. อธิบายความหมาย ลักษณะของวัฒนธรรม และภูมิปญญาไทยได 
  • 2. วิเคราะหปจจัยที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมไทย และเลือกรับวัฒนธรรมสากล ไดอยางเหมาะสม 
  • 3. บอกแนวทางการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาของไทยได 
แนวคิดคำถาม
  • 1. เพราะเหตุใด เราจึงตองมีการปรับปรุงวัฒนธรรม บางอยางใหสอดคลองกับยุคสมัย 
  • 2. เราควรใชหลักเกณฑใดในการเลือกรับวัฒนธรรม สากลมาใชในวัฒนธรรมไทย
1. วัฒนธรรม 
  • วัฒนธรรม เปนสิ่งที่มนุษยมีสวนสราง ขึ้นมาจากการเรียนรู ที่ไดรับการปรุงแตงพัฒนา ใหเกิดเปนรูปลักษณที่สูงเดนขึ้น ตัวอยางเชน ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สำคัญ กิริยามารยาท ในสังคม ภาษาและวรรณคดีเปนตน และได สืบทอดสงตอวัฒนธรรมดังกลาวจากคนรุนหนึ่ง สูคนรุนตอมา จนกลายเปนมรดกทางสังคมที่ แสดงถึงความเจริญงอกงาม และสะทอนใหเห็น ถึงเอกลักษณ  ประจำชาติของตน
  • วัฒนธรรมจึงมึ ส่วนสำคัญในการทำหน้าที่กำหนดความประพฤติ และหลอหลอมบุคลิกภาพของ สมาชิกในสังคมใหดำเนินชีวิตไปในแนวทางที่ถูกตองเหมาะสม เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อสรางเสริม ใหมนุษยอยูรวมกันในสังคมอยางมีระเบียบเรียบรอยและเปนปกติสุข วัฒนธรรมมีลักษณะสำคัญ ดังนี
    • 1) วัฒนธรรมเกิดจากการเรียนรู เนื่องจากมนุษยมีความสามารถและมีสติปญญาใน การเรียนรูสิ่งตางๆ รอบตัว และนำความรูนั้นมาประดิษฐคิดคน ปรับปรุง รวมถึงพัฒนาเปนวัฒนธรรม ใหมๆ ขึ้นใชจนเปนที่ยอมรับ 
    • 2) วัฒนธรรมเปนรูปแบบของวิถีชีวิต ที่สมาชิกในสังคมตองประพฤติปฏิบัติไปในแนวทาง เดียวกัน เชน การแตงกายดวยชุดดำเมื่อตองไปรวมงานศพ การที่ประชาชนปฏิบัติตนตามกฎหมาย 
    • 3) วัฒนธรรมเปนเอกลักษณทางสังคม ที่แสดงถึงลักษณะเดนประจำชาติแสดงความเปน หมูคณะ หรือชาติพันธุเดียวกัน ซึ่งเปนพื้นฐานของความสามัคคีและความมั่นคงของคนในชาติ 
    • 4) วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ถายทอดสูอนุชนรุนหลัง เปนมรดกทางสังคมมนุษยที่เกิดจากการ สั่งสมประสบการณ จนกลายเปนองคความรูที่สงตอใหแกอนุชนสืบตอกันมา เพื่อไมใหวัฒนธรรม สูญหายไป 
    • 5) วัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง และพัฒนาอยูเสมอ เพื่อใหสอดคลองกับ ยุคสมัยและความตองการของสมาชิกในสังคม

2. วัฒนธรรมไทย

  • วัฒนธรรมไทย  หมายถึง สิ่งทิ่คนไทยกำหนดหรืออสร้างขึ้น มีการเรียนรู้และปฏิบัติ สืบต่อกันมา  มีลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียว ตลอดจนการมี ศลธรรมอันดี ของสมาชิกในสังคมไทย เชน การใชภาษาไทย การรู้จักเคารพผู้อาวุโส 
  • การไหว ศิลปกรรม แบบไทย อาหารไทย รวมทั้งการแตงกายที่สุภาพเรียบรอย ถูกตองตามกาลเทศะ เหมาะสมกับฐานะ และวัย เปนตน 
  • วัฒนธรรมไทย มีความสำคัญตอคนไทยและสังคมไทยหลายประการ ดังนี้ 
    • 1. เปนเครื่องแสดงถึงความเจริญและเชิดชูเกียรติของบุคคล และประเทศชาติ 
    • 2. เปนเครื่องแสดงถึงบุคลิกลักษณะประจำชาติและดำรงความเปน ชาติไทย 
    • 3. เปนเครื่องกลอมเกลาจิตใจมนุษยใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางปกติสุข 
    • 4. เปนเครื่องชวยใหคนภูมิใจในชาติไทย 
    • 5. เปนเครื่องชวยในการสรางความสัมพันธกับนานาชาติโดยมี การแลกเปลี่ยนเรียนรูวัฒนธรรมของกันและกันและนำมาปรับใชกับสงคมไทย
  • 2.1 ที่มาของวัฒนธรรมไทย
    • วัฒนธรรมไทยที่เปนเอกลักษณเฉพาะของคนไทยมาแตอดีต และสืบสานเปนมรดกทางสังคม ตกทอดกันมาจนถึงปจจุบัน อาจจำแนกถึงที่มาไดดังนี้ 
      • 1) สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร เนื่องจากประเทศไทยมีลักษณะทางดานภูมิประเทศเปน ที่ราบลุม อุดมสมบูรณดวยแมน้ำลำคลอง สำหรับใชในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการอุปโภค บริโภค ทำใหเกิดประเพณีที่เกี่ยวของกับน้ำหลายอยาง เชน ประเพณีลอยกระทง ประเพณีแขงเรือ ประเพณีไหลเรือไฟ เปนตน 
      • 2) การประกอบอาชีพเกษตรกรรม สังคมไทยเปนสังคมเกษตรกรรม เนื่องจากสภาพ ภมูประเทศท ิ เอี่ ออำนวยเหมาะแก ื้ การเพาะปลูกจึงเป็นที่มาของประเพณี ต่างๆ  ของไทย เช่น ประเพณี บุญบั้งไฟ เพื่อขอฝนไวใชในการเพาะปลูก ประเพณีลงแขกเกี่ยวขาว เปนตน 
      • 3) คานิยม เปนการกำหนดวิถีชีวิตของคนไทยที่มีความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรม ซึ่งตอมาได กลายเปนเอกลักษณที่แสดงออกถึงความเปนไทย เชน การเคารพผูอาวุโส ความกตัญูกตเวที ความมีน้ำใจ เปนตน ประเพณีสงกรานตเปนวัฒนธรรมที่คนไทย ไดรับอิทธิพลมาจากชนชาติมอญ 
      • 4) การรบเอาวัฒนธรรมอันมาปรับใช้ สังคมไทยไดมีการติดตอกับชาติตางๆ มาเปน เวลาชานาน จนทำใหเรารับเอาวัฒนธรรมของ ชาติเหลานั้นเขามาหลอมรวมจนกลายเปน วัฒนธรรมของไทย เชน ประเพณีการโกนจุก ประเพณีสงกรานต เปนตน จนถึงในปจจุบันที่ วัฒนธรรมตะวันตกกำลังเปนที่นิยมและหลั่งไหล เขามาในสังคมไทย อยางรวดเร็ว สงผลใหเรา รับเอาวัฒนธรรมนั้นมาปรับใชในการดำเนินชีวิต ของเรา เชน การผูกเนกไท การสวมเสื้อนอก การใชชอนส้อมในการรับประทานอาหารเป็นต้น
    • 2.2 ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรมไทย
      • วัฒนธรรมไทยเปนความภาคภูมิใจของคนในชาติเปรียบเสมือนกระจกเงาที่สะทอนใหเห็นถึง เอกลักษณของความเปนชาติที่ไดหลอมรวมกันไวจนกลายเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งในสังคมไทยมี วัฒนธรรมของตนเองอยูเปนจำนวนมาก แตพอจะสรุปลักษณะที่สำคัญไดดังนี้
        • 1) วัฒนธรรมไทยเปนวัฒนธรรม แบบเกษตรกรรม นับแตอดีตคนไทยสวนใหญ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเพาะปลูกขาว ซึ่งเปนอาชีพหลักของคนไทย ไดกอใหเกิดพิธีกรรมตางๆ ที่เกี่ยวกับขาวขึ้น เชน พิธีแรกนาขวัญ พิธีสูขวัญขาว เปนตน 
        • 2) วัฒนธรรมไทยมีแบบแผนทาง พธิกรรม ี มีขั้นตอน รวมถึงองคประกอบในพิธี หลายอยาง เชน พิธีกรรมเกี่ยวกับการทำศพ พิธีมงคลสมรส เปนตน 
        • 3) วัฒนธรรมไทยเปนความคิด พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เปนพระราชพิธี สำคัญที่สะทอนถึงการเปนสังคมเกษตรกรรมของไทย ความเชื่อ และหลักการ ที่เปนองคความรูซึ่งเกิดจากการสั่งสมและสืบทอดเปนหลักปฏิบัติตอเนื่อง กันมา เชน ความคิดความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และศาสนา คานิยมการรักนวลสงวนตัวของสตรี การแสดงออกทางบุคลิกภาพและมารยาทตางๆ เปนตน 
        • 4) วัฒนธรรมไทยเปนวัฒนธรรมแบบผสมผสาน นอกจากคนไทยจะมีวัฒนธรรม เปนของตนเองแล้วยังรับเอาวัฒนธรรมอื่นมาผสมผสานเข้าดวยกัน จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของลักษณะทางวัฒนธรรมไทย เชน การไหว (จากวัฒนธรรมอินเดีย) การปลูกสรางบานเรือนโดยใชคอนกรีต (จากวัฒนธรรมตะวันตก) หรือการทำสวนยกรอง (จากวัฒนธรรมจีน) เปนตน 
        • 5) วัฒนธรรมไทยเปนวัฒนธรรมที่ไดรับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา ไมวาจะเปนคติ ในการดำเนินชีวิต บรรทัดฐานทางสังคม ศิลปกรรม วรรณกรรม พิธีกรรม ตลอดจนประเพณีตางๆ เชน ประเพณีการตักบาตรเทโว ประเพณีทอดกฐิน ประเพณีถวายสลากภัต เปนตน จนอาจกลาวไดวา พระพุทธศาสนาเปนรากฐานสำคัญตอลักษณะทางวัฒนธรรมไทย
    • 2.3 การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย
      • หากเปรียบเทียบวัฒนธรรมกับมนุษยจะเห็นไดวา วัฏจักรชีวิตของมนุษยเริ่มตนขึ้นจากวัยเด็ก วัยผูใหญ วัยชรา และส ิ้ นสุดลงดวยความตาย หมุนเวียนเชนน ี้ไปตลอด วัฒนธรรมก็มีลักษณะเชน เดียวกัน แตตางกันตรงที่วัฒนธรรมเปนส ิ่งไมมีที่สิ้นสุด เปนการส ั่ งสมที่มีระยะเวลายาวนาน มีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอดตามยุคสมัยและความเหมาะสมของการนำไปใช สำหรับวัฒนธรรมไทยที่กำเนิดข ึ้นในสังคมไทยนั้น มีการเปลี่ยนแปลงและมีพัฒนาการตาม กาลเวลา ซึ่งปจจัยที่ทำใหวัฒนธรรมไทยเกิดการเปลี่ยนแปลง ไดแก 
        • 1) ปจจัยภายใน หมายถึง ปจจัยที่เกิดขึ้นภายในสังคมไทย ที่มีผลกระทบตอการ ดำรงชีวิตที่ ตองปรบตัวและเปลี่ยนแปลงให้เขากับสภาพแวดลอมที่แปรเปลี่ยนนั้น ไดสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมขึ้น ตัวอยางท ี่ เห็นไดชัดในปจจุบัน เชน การที่มีจำนวนประชากรเพิ่ มมากขึ้น ผูคนที่ไมมีที่ทำกินก็ตองอพยพเขาไปทำงานตามโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ในเมือง คนเหลานี้ตองปรับตัว เขากบแบบแผนชีวิตที่ตองทำงานเป็นเวลา 
        • ดังนั้น ความผูกพันตอที่ดินทำกิน ตอขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เกี่ยวของกับอาชีพเกษตรกรรมและ ตอญาติพี่นอง เพื่อนฝูงในหมูบานเดิมก็ลดนอยลงไป โดยเฉพาะรุ่นลูกรุ่นหลานที่เกิดในเมือง จะมีความผูกพันกับทองถิ่นบานเกิด และวัฒนธรรม ดั้งเดิมของพอแมนอย แตจะรับเอาวิถีชีวิตแบบ เมืองไปใชในการดำเนินชีวิตของตน เปนตน
        • 2) การแพรกระจายทางวัฒนธรรม มนุษยจำเปนตองมีการปฏิสัมพันธติดตอกับคน ในสังคมอื่นอยูตลอดเวลา และเมื่อมีการพบปะ กับคนท ี่แปลกแตกตางไปจากเรา ไดเห็นถึงการดำเนินชีวิตของคนในสังคมยุคปจจุบัน ที่ตองเรงรีบเปนปจจัยสำคัญที่ทำใหเกิด การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมตางๆ  ที่ดีของเขา จึงสงผลให้เกิดการหยิบยืมวัฒนธรรมมาใช้
        • โดยเฉพาะในปัจจุบันการติดต่อสื่อสาร มีความเจริญกาวหนามากขึ้น การคมนาคมก็เปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว เปนผลใหการ กระจายทางวัฒนธรรมเกิดขึ้น ไดงาย อีกทั้งคนไทยเองก็มีลักษณะนิสัย ที่พรอมจะเปดรับและเรียนรู วัฒนธรรมใหมอยูตลอดเวลา 
        • จึงทำใหในปจจุบันวัฒนธรรมตางชาติบางอยางคอนขางมีอิทธิพลมาก ตอคนไทย เกิดการหลอหลอมเขากับวัฒนธรรมไทย เชน การแตงกาย การบริโภคอาหาร เปนตน ทั้งนี้ การผสมผสานทางวัฒนธรรมจะเกิดขึ้นไดตองอาศัยกระบวนการเลือกสรรจากคนในสังคม หากวัฒนธรรมตางถิ่นมีประโยชนและสามารถเขากับวัฒนธรรมไทยไดดีคนในสังคมก็จะนำมาปรับใช และกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยในที่สุด 
    • 2.4 ความแตกตางระหวางวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
      • สิ่งทกำหนดลักษณะของวัฒนธรรมแต่ละแห่งให้มีความแตกตางกันนั้น มาจากปัจจยหลายอย่าง เชน สภาพแวดลอม การเปนศูนยกลางในการติดตอ ศิลปวิทยา คนในสังคม เปนตน ปจจัยดังกลาว เปนสวนสำคัญที่ทำใหวัฒนธรรมเหลาน ั้ นมีความแตกตางกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งวัฒนธรรมสากลที่ กำลังเขามามีอิทธิพลตอการดำรงชีวิตของคนไทย ที่มีลักษณะแตกตางจากวัฒนธรรมไทย ซึ่งพอจะ อธิบายโดยสังเขปไดดังนี้
      • วัฒนธรรมไทย
        • 1. เปนวัฒนธรรมที่มีความสัมพันธแนนแฟนภายใน ครอบครัว มีลักษณะเปนครอบครัวขยายที่ ประกอบดวยพอแม ลูก ปูยา ตายาย ที่อาศัยอยู รวมกัน มีความผูกพันใกลชิดและมีปฏิสัมพันธกัน ในครอบครัวหรือหมูเครือญาติตลอดเวลา 
        • 2. เป็นวัฒนธรรมที่ถือระบบเครือญาติ มีความสมพันธ์กัน โดยยึดหลักอาวุโส คนที่อายุนอยกวาจะให้ความเคารพ ผูที่อาวโสกว่า เห็นได้จากการเรียกขานผู้ที่อายมากกว่า ดวยความเคารพเสมือนกับเปนญาติของตนเอง 
        • 3. เปนวัฒนธรรมที่ไดรับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา ในดานหลักคำสอน คติคานิยมในการดำเนินชีวิต เชน ความเมตตากรณา ุ ความกตญั กตเวทีเป็นต้น 
        • 4. เปนวัฒนธรรมที่มีระบบความคิดแบบยืดหยุน ไมเครงครัด และมีความสามารถในการปรับตัวสูง 
        • 5. เปนวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมของ ชาติอื่น และในที่สุดวัฒนธรรมเหลานั้นไดกลายเปน สิ่งทคนทั่วโลกรู้จักและใหการยอมรับว่าเป็นเอกลัก กษณ ที่แสดงถงความเป็นชาติไทย  เชน การไหว การแตงกายชุดประจำชาติไทย นาฏกรรม แขนงตางๆ เปนตน
      • วัฒนธรรมสากล
        • 1. เปนครอบครัวเดี่ยว ประกอบดวยพอแม ลูก มีความผูกพันใกลชิดกันในระดั บ หนึ่ง สวนใหญ่เมื่อลูกเติบโตขึ้นมักแยกออกไปมีครอบครัวเปนของตนเอง 
        • 2. เปนวัฒนธรรมที่ถือวาทุกคนมีสิทธิเทาเทียมกัน ความสัมพันธสวนบุคคลเปนไปในลักษณะที่ทุกคน มีความเสมอภาคกัน 
        • 3. เป็นวัฒนธรรมที่ไดรับอทธิพลความเชื่อ และพิธีกรรม ตางๆ จากคริสต ศาสนา เชน วันขอบคุณพระเจา วันอีสเตอรวันวาเลนไทนเปนตน 
        • 4. เปนวัฒนธรรมที่มีคานยมและแบบแผนการดำเนินชีวิต ที่เครงครัด เปน ระเบียบ เชน การคำนึงถึงสิทธิ สวนบุคคล การปฏิบัติตนตามกฎหมาย เปนตน 
        • 5. เปนวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมของ ชาติตางๆ และกลายเปนว ฒนธรรมท ั ี่นิยมใชกันทวไปั่ ในนานาประเทศ จนไมสามารถเจาะจงวาเปน เอก ลักษณประจำชาติใดชาติหนึ่งไดเชน การแตงกายดวยเสื้อนอกและการผูกเนกไท การเลนดนตรีสากล การทักทายดวยการจับมือ เปนตน
    • 2.5 วิธีเลือกรับวัฒนธรรมสากล
      • ทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในโลกที่ไรพรมแดน ที่ทุกคนทั่วโลกสามารถ ติดตอสื่อสารถึงกันไดอยางสะดวก สงผลใหอิทธิพลของวัฒนธรรมตางชาติเขามามีบทบาทสำคัญ ภายในประเทศ จึงเป็นหน้าที่สำคัญของคนในชาติ ที่ต้องมีวิจารณญาณในการเลือกรับวัฒนธรรมเหล่านั้น เขามาผสมผสานกับวัฒนธรรมไทย โดยอาจพิจารณาไดจากปัจจัย ดังนี้ 
        • 1. วัฒนธรรมสากลสามารถผสมผสาน หรือหลอมรวมเขากับโครงสรางทางสังคม คานิยม และขนบธรรมเนียมของไทยหรือไม 
        • 2. วัฒนธรรมสากลมีสวนอำนวยประโยชนในการพัฒนาวัฒนธรรมไทยใหกาวหนา หรือมี สวนสำคัญตอการดำรงชีวิตของคนไทยในดานตางๆ มากกวาที่เปนอยูหรือไม เชน การนำเทคโนโลยี ตางๆ มาใชในการประกอบธุรกิจ หรือการนำคอมพิวเตอรมาใชในการเก็บ และวิเคราะหข้อมูลเกี่ยวกับภูมิ ปญญา ทองถิ่น และแลกเปลี่ยนขอมูลเหลานั้นไปยังศูนยวัฒนธรรม สถานศึกษา และผูสนใจ อยางกว้างขวางและรวดเร็ว อีกทั้งผู้ประกอบการสามารถใชประโยชน  จากขอมูลไปทำธุรกิจ อุตสาหกรรมเชิงพาณิชยไดอีกดวย 
        •  3. การที่วัฒนธรรมสากลสามารถอยู รวมหรือเคียงคู่ไปกับวัฒนธรรมเดิมได้ หรือไม่นั้น จำเปนตองเรียนรูและเขาใจถึงคุณประโยชนของ วัฒนธรรมทางสังคมของเราใหละเอียด เมื่อมี วัฒนธรรมภายนอกเขามาจะไดเลือกสรรไดวา จะสามารถผสมผสานกับวัฒนธรรมของเราได หรือไม การคิดเชนนี้จะทำใหสังคมไทยรอดพน จากการถูกครอบงำของวัฒนธรรมภายนอก
    • 2.6 การอนุรักษวัฒนธรรมไทย
      • การอนุรักษและสืบทอดวัฒนธรรมไทยนั้น ตองอาศัยความรวมมือรวมใจของคนไทยทุกฝาย มิใชปลอยใหเปนภาระหนาที่ของภาครัฐบาลแตเพียงฝายเดียว เนื่องจากวัฒนธรรมไทยเปนเอกลักษณ ประจำชาติที่มีคุณคุ่าทางจิตใจอย่างสูงส่ เป็นผลิ ต ผลที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถและความภาคภูมิมิใจ ในความเปนชาติไทย ที่เราทุกคนควรใหความเอาใจใส อนุรักษและถายทอดใหแกลูกหลานในภาย ภาคหนา เพื่อเปนการสืบสานและจรรโลงวัฒนธรรมไทยใหอยูคูกับประเทศไทยของเรา ซึ่งแนวทางใน การอนุรักษวัฒนธรรมไทย มีดังนี้
        • 1. ศึกษา คนควา และวิจัยวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งที่มีการรวบรวมไว้แลว และที่ยังไมไดศึกษา เพื่อทราบความหมาย และความ สำคัญของวัฒนธรรมในฐานะที่เปนมรดกของไทย อยางถองแทซึ่งความรูดังกลาวถือเปนรากฐานของ การดำเนนชีวิติ เพื่อให้ เห็นคุณค่าทำใหเกิดการยอมรับ และนำไปใชประโยชนไดอยางเหมาะสมตอไป 
        • 2. สงเสริมใหทุกคนเห็นถึงคุณคา รวมกัน รักษาเอกลักษณทางวัฒนธรรมของชาติและของทองถิ่น สรางความเขาใจและความมั่นใจแกประชาชนในการปรับเปลี่ยน และตอบสนองกระแสวัฒนธรรมอื่นๆ อยางเหมาะสม  
        • 3. รณรงคใหประชาชนและภาคเอกชน ตลอดจนหนวยงานของรัฐตระหนักในความสำคัญ ของวัฒนธรรมวาเปนเรื่องที่ทุกคนตองใหการ รับผิดชอบรวมกันในการสงเสริมสนันสนุน ประสานงาน การบริการดานความรูวิชาการ และทุนทรัพยสำหรับจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม 
        • 4. สงเสริมการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมภายในประเทศและระหวางประเทศ โดยการใช ศิลปวัฒนธรรมเปนสื่อสรางความสัมพันธระหวางกัน 
        • 5. สร้างทัศนคติความรูและความเขาใจว่าทุกคนมีหน้้าที่ในการเสริมสร้างฟื้นฟูและดแลู รักษาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมที่เปนสมบัติของชาติและมีผลโดยตรงตอชีวิต ความเปนอยูของทุกคน 
        • 6. จดทำระบบเครือข่ายสารสนเทศทางด้านวัฒนธรรม เพื่อเป็นศูนย์กลางเผยแพร่ ประชาสัมพันธ  ผลงานใหประชาชนเขาใจ สามารถเลือกสรร ตัดสินใจ และปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมในการดำเนินชีวิต ทั้งนี้สื่อมวลชนควรมีบทบาทในการสงเสริมและสนับสนุนงานดานวัฒนธรรมใหมากยิ่งขึ้นดวย


3. ภูมิปญญาไทย

  • ภูมิปญญาไทย หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่นตางๆ ของไทย ซึ่งไดมาจาก ประสบการณ์และความเฉลียวฉลาด  ของชาวบาน รวมทั้งความรูที่สั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจาก คนรุนหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง 
  • ระหวางการสืบทอด มีการปรับประยุกต์ และเปลี่ยนแปลง จนเกิดเป็นความรูใหมตามสภาพการณ ทางสังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมและสอดคลองกับวิถีชีวิต ดั้งเดิมของชาวบาน
  • ภูมิปญญาไทย จึงมีคุณคาอยางยิ่ง ในฐานะที่ ผลงานสรางสรรคของบรรพบุรุษ ที่สืบทอดอยางตอเนื่องจากอดีตสูปจจุบัน มีความสำคัญในการสรางสมดุลระหวางคน ในสังคมและธรรมชาติไดอยางยั่งยืน สราง ความภาคภูมิใจ ศักดิ์ ศรีเกียรติภูมิใหแก คนในชาติและชวยสร้างชาตใหมีความมั่นคงเปนปกแผนได้
    • 3.1 ลักษณะของภูมิปญญา แบงลักษณะไดเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ 
      • 1) ลักษณะที่เปนนามธรรม เปน การปนดาย เพื่อนำไปทอผา เปนเครื่องนุงหมและใช ประโยชนอื่นๆ เปนภูมิปญญาของคนไทยที่มีมาชานาน ปรัชญาในการดำเนินชีวิต ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับการเกิด แก เจ็บ ตาย เปนคุณธรรมสอนใหเปนคนดี สอนใหคนเคารพธรรมชาติรูจักพึ่งพาอาศัยธรรมชาติโดยไมทำลาย ใหความเคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์และผูที่ ลวงลับไปแลว สอนใหเด็กเคารพผูใหญ มีความกตัญูรูคุณพอแมและผูมีพระคุณ มีความเอื้ออาทรตอ คนอื่น รูจักชวยเหลือแบงปนสิ่งของใหแกผูอื่น เปนตน 
      • 2) ลักษณะที่เปนรูปธรรม เปนเรื่องเฉพาะดาน เชน ความรูเรื่องการทำมาหากิน การทำนา การจับปลา การจับสัตวการเพาะปลูก การเลี้ยงสัตวการหัตถกรรม เชน การทอผา ทอเสื่อ การสาน ตะกราและเครองใชที่ทำดวยไม  ไผ หวาย การทำ เครองปั่นดินเผา การทำเครองมื่อทางการเกษตร นอกจากนนยังมีศิลปะทางดานดนตรี การฟอนรำ การละเลนตางๆ การรักษาโรคดวยการใชยา สมุนไพรและการนวดแผนโบราณ เปนตน
    • 3.2 ภูมิปญญาทองถิ่นในภูมิภาค ตางๆ ของไทย ภูมิปญญาทองถิ่นในภูมิภาคตางๆ จำแนกเปน 4 ภูมิภาคหรือ 4 ทองถิ่น ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใตซึ่งทั้ง 4 ภูมิภาคนี้ จะมีลักษณะวิถีชีวิตความเปนอยู สภาพแวดลอมทางธรรมชาติและลักษณะสังคมที่ แตกตางกันพอสมควร 
    • ดังนั้น ภูมิปญญาของคนในแตละภูมิภาคก็จะมีความแตกตางกันบาง เชน ภาษา การสื่อสาร พฤติกรรม การแสดงออก ซึ่งเปนผลมาจากความคิด ความเชื่อที่สะสมมาเปนเวลานานของบรรพชนในทองถิ่น โดยภูมิปญญาทองถิ่น แตละภูมิภาคของไทยจะมีลักษณะสำคัญ ดังนี้ 
      • 1) ภูมิปญญาท้องถิ่นภาคเหนือ เนื่องจากภาคเหนื่อมื สภาพภ ี ูมิประเทศเปนภูเขาสูง ปกคลุม ไปดวย ปาไม เปนแหลงของตนน้ำ มีแมน้ำสายสำคัญหลายสาย เอื้ออำนวยใหเกิดผลิตผลจาก ภูมิปญญาท้องถิ่นหลากหลาย เชน การแกะสลกไม้ การทำกระดาษสา ซึ่งเปนผลผลิตจากการมีปาไมจำนวนมาก เปนตน นอกจากนี้ภูมิ ปญญาทองถิ่นทางภาคเหนือยังมี เรื่องเกี่ยวกับ กาจัดการการใชน้ำไดอยางมีระบบและ ชาญฉลาด ดวยวิธีการทำ “ระบบเหมืองฝาย” เพื่อ นำน้ำเขามาใชในพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง หรือ การปลูกสร้างบานเรือนของชาวเหนือ ซึ่งมีภูมิอากาศ ที่หนาวเย็น จึงนิยมสรางบานแบบวางเรือนขวาง ตะวันเพื่อรับแดดและมีการเจาะชองหนาตางแคบๆ เล็กๆ เพื่อปองกันลมหนาว
      • 2) ภูมิปญญาทองถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ลักษณะพิเศษของภาคอีสาน คือ การมีสภาพภูมิอากาศที่ แตกตางกันอยางชัดเจน ระหวางหนาฝนกับหนาแลง กลาวคือ หนาฝนจะมีน้ำ คอนขางสมบูรณู แตพอหน้าแล้งก็จะขาดแคลนน้ำ เพราะดนไม่อุมน้ำ จึงประสบปญหาในการประกอบ อาชีพ แตดวยภูมิปญญาทองถ ิ่ นของชาวอีสาน ไดรูจักการถนอมอาหารไวคือ การทำปลาราหรือ ปลาแดกทำใหมีอาหารบริโภคไดตลอดทั้งปหรือ การสรางท ี่ อยูอาศัยจากไมไผ ซึ่งเปนพันธุไมที่พบมาก ในภาคอีสาน โดยนยมสร้างบานให้มีลักษณะใตถุนสูง เพื่อใหมีบริเวณใชสอยสำหรับการตั้งหูกไวทอผาหรือ วางแครไวสำหรับนั่งเลน เปนตน
      • 3) ภูมิปญญาทองถิ่นในภาคกลาง มีลักษณะ ภูมิประเทศเปนที่ราบลุม มีแมน้ำสำคัญไหลผานหลายสาย จึงเหมาะแกประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการทำนา ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทย ยามวางจากฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ก็หาอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายไดใหแกครอบครัว เนื่องจาก ภาคกลางมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณนี้เอง จึงได เกดภูมิปัญญาท้องถิ่นหลายอย่าง เชน การทำโองลายมังกร ในจังหวัดราชบุรีการทำมีดอรัญญิก ในจังหวัดพระนคร- ศรีอยุธยา ุ เปนตน สวนการสรางบานเรือนนั้น      เนื่องจากมีพื้นที่ เปนที่ราบลุมจึงนิยมปลูกบานเรือนในลักษณะใตถุนสูงเพื่อ ปองกันนัำท่วมในฤดูฝน เปนตน
      • 4) ภูมิปญญาทองถิ่นในภาคใต สิ่งที่บรรพบุรุษ ไดฝากไวใหคนรุนหลัง ซึ่งเปนภูมิ ปญญาทองถิ่นของ ชาวภาคใต้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณคานาภาคภูมิใจ ได้แก ผลิตภัณฑั จักสานยานลิเภา เครื่องถม เปนหัตถกรรม ที่มีชื่อของจังหวัดนครศรีธรรมราช
      • นอกจากนี้ยังมีภูมิปญญาดานศิลปกรรม การแสดงพื้นบ้านของภาคใต้ คือ หนังตะลุง เปน การแสดงที่มีตัวละครเปนตัวหนังตะลุง แสดง เรื่องราวตางๆ มีทั้งสนุกสนานและใหขอคิดสอนใจ และนอกจากนี้ยังมีโนรา ซึ่งเปนศิลปะ การรำฟอนดั้งเดิมอยางหนึ่งของชาวภาคใตหรือ การสรางบานเรือนที่เปนเอกลักษณของภาคใต ที่เปนพื้นที่ที่มีฝนตกชุกตลอดทั้งป ภูมิปญญา ในการสรางบานเรือนจึงมีการยกพื้นสูงมีใตถุน ลักษณะของหลังคามีความลาดเอียงมาก เพื่อให น้ำฝนไหลสูพื้นไดอยางรวดเร็ว ลักษณะเดนของ เรือนภาคใตคือ หลังคาจะเปนทรงปนหยาที่สามารถเคลื่อนยายไปสรางใหมไดสะดวก หากเกิดอุทกภัย วาตภัย เปนตน
    •  3.3 การอนุรักษภูมิปญญาไทย
      • ภูมิปญญาไทยมีความสำคัญตอสังคมไทยของเราหลายประการตามที่กลาวมาแลวขางตน ดังนั้นจึงเปนหนาที่ของคนไทยทุกคนที่ตองมีสวนรวมในการสงเสริม และใหการอนุรักษภูมิปญญาไทย ใหคงอยูสืบไป ดังนี้
        • 1. ศึกษาคนควาองคความรูภูมิปญญา ดั้งเดิมที่มีอยู เรียนรูใหเขาใจในประเด็นสำคัญ 2. รวบรวมจัดระบบขอมูลองคความรู เกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่นในสาขาตางๆ ใหเปน หมวดหมเพู ื่อสะดวกตอการคนหา 
        • 3. จดทำสตอรี่ในรูปแบบต่างๆ เช่น ตำรา หรือหนังสือ การเผยแพรขอมูลผานเครือขาย อินเทอร์เน็ต เพื่อเผยแพรองคความรูภูมิปญญา ทองถิ่นใหกวางขวางยิ่งขึ้น
        • 4. ถายทอดความรูใหคนไทยทุกหมู เหลาไดรจูกภั มูปิญญาดั้งเดิมของตนเอง โดย การเชญผู้ทรงภูมิปิญญาไปถ่ายทอดความรู้สู่ลกหลาน และผูสนใจตามสถานศึกษา หรือแหลงประกอบการตางๆ
        • 5. กระตุนใหมีการสรางสรรคการประดิษฐคิดคนองคความรูใหมๆ ที่ทำใหสังคมไทยเจริญ กาวหนา และดำรงอยูไดดวยตนเอง 
        • 6. สงเสริมใหมีการทำนุบำรุงรักษา และปกปองภูมิปญญาชาติใหเปนระบบ เชน การจด สิทธิบัตร เพ่อปองกันไมใหชาติอื่นมาลอกเลียนแบบ หรือแอบอางเอาเปนของตน 
        • 7. มีการแลกเปลี่ยนและการพัฒนาภูมิปัญญาไทย โดยการนำเอาเทคโนโลยีต่างชาติ เข้ามาช่วย ในการผลิต เพื่อใหเกิดความสะดวกสบาย และพัฒนาคุณภาพ ไมทำลายสิ่งแวดลอม
      • กลาวโดยสรุป วัฒนธรรมและภูมปัญญาของไทยถือเปนสิ่งที่บรรพบุรุษไดรังสรรคขึ้นจากการ เรียนรูและการส่ังสมประสบการณตางๆ จนตกผลึกกลายเปนองคความรูที่ถายทอดใหแกอนุชนตอมา จากรุนสูรุน วัฒนธรรมและภูมิปญญาจึงมีความสำคัญในฐานะที่เปนมรดกทางสังคมไทยที่มี คุณค่าตอจิตใจและเกียรตภูมิ ในความเป็นชาติไทย ที่ไมมีชาติใดเสมอเหมือน ดังนั้นเราทุกคนควรหวงแหน ุ สงเสริม สืบทอดและอนุรักษใหวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาไทยเหลานี้คงอยูคู่กับคนไทย และเป็น เอกลักษณ์ ประจำชาติไทยตราบนานเทานาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น